1การสร้างจุดเด่นรูปภาพ
ขั้นตอนที่1.ไปที่ file--open แล้วเลือกรูปที่ต้องการมา1รูป
ขั้นตอนที่2.ไปคลิก ctrl+J เพื่อที่เราจะ Copy Layer แล้วจะมี layer ที่2ออกมา
ขั้นตอนที่3.ปลดล็อคที่ Background
ขั้นตอนทึ่4.ไปที่แถบเมนู Image--Adjutments--Desaturate
ขั้นตอนที่5.ไปที่เครื่องมือ Magnetic--Lasso--Tool เลือกตรงส่วนที่จะให้เป็นจุดเด่น
ขั้นตอนที่6.ไปที่ Layer - Copy แล้วคลิก Delete ก็จะได้จุดเด่นของรูปภาพ
2. Content-Aware
ขั้นตอนที่ 1 ไปที่ file - open เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 แล้วไปที่แถบเครื่องมือ Polygonal Lasso Tool
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเมนู Edit -- Fill -- Content-Aware เลือก Opacity เป็น 95%
เป็นอันเสร็จ
3. การตัดส่วนเกินของรูป
ขั้นตอนที่ 1 ไปที่File--open เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 ไปที่แถบเมนู Filter -- Liquify ติ๊กที่ Show Meshเพื่อจะให้มีตรางขึ้นมา
ขั้นตอนที่ 3 แล้วมาเลือกเพื่อเปลี่ยนขนาดของตรางที่ Mesh Sizeและเปลี่ยนสีของตราง Mesh Color
ขั้นตอนที่ 4 เลือกที่เครื่องมือ Forward Warp ดึงให้ส่วนที่ต้องการยุบเข้าไป เสร็จแล้วกด เป็นอันเสร็จ
(เทคนิค) การทำให้รูปกลับมาเหมือนเดิมทั้งหมด คือ กด Ctrl + Alt + Z
4. การทำภาพลายเส้น
ขั้นตอนที่ 1 ไปที่File--openเลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 กด Ctrl + J เพื่อ Copy Layer รูปภาพเพิ่มขึ้นมาอีกเป็น 2 Layer
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเมนู Image -- Adjutments -- Invert
ขั้นตอนที่ 4 ไปที่เครื่องมือด้านขวา ตรงคำว่า Normal เปลี่ยนเป็น Color Dodge
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่แถบเมนู Filter -- Blur -- Gaussian Blur ให้ปรับข้างล่างเป็น 2 แล้ว OK
ขั้นตอนที่ 6 กด Ctrl + Shift + Alt + E
ขั้นตอนที่ 7 ไปที่แถบเครื่องมือ Image -- Adjutments -- Theshold ปรับเป็น 240
เป็นอันเสร็จ
5. การทำ HDR Toning
ขั้นตอนที่ 1 ไปที่File--openเลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 ไปที่แถบเครื่องมือ Image--Adjutments--HDR Toning ปรับตั้งค่าตามที่ ต้องการแล้วกด OK เป็นอันเสร็จ
6. การทำภาพให้เป็นภาพหลอก
ขั้นตอนที่ 1 ไปที่File--openเลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 กด Ctrl + J เพื่อ Copy Layer รูปภาพเพิ่มขึ้นมาอีกเป็น 2 Layer
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเครื่องมือ Image --Mode Lab Color แล้วเลือก Don’t Flatten
ขั้นตอนที่ 4 ไปที่แถบเครื่องมือด้านขวา คลิกตรงคำว่า CHANNELS
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่แถบเมนู Image--Adjutments--Curves ปรับแสงตามต้องการแล้ว
กด OK เป็นอันเสร็จ
7. การทำบาโค๊ด
ขั้นตอนที่ 1 ไปที่ File -- New ความกว้าง 150 ความสูง 60 เลือก Transparent
ขั้นตอนที่ 2 เทสีขาวบน Layer
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเมนู Filter-Noise- Add Noise เปลี่ยนเป็น 400ติ๊กที่ Monochromatic แล้ว OK
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่แถบเมนู Filter-Blur-Motion Blur บน 90 ล่าง 999
ขั้นตอนที่ 6 ไปที่แถบเมนู Filter-Sharpen-Sharpen Edges
ขั้นตอนที่ 7 เพิ่ม Layer ข้างล่าง
ขั้นตอนที่ 8 ไปที่แถบเครื่องมือ Rectangular Marquee Tool นำมาตีเป็นสี่เหลี่ยมข้างล่างทำเหมือนบาโค๊ดแล้วเทสีขาวลงไปเลย
ขั้นตอนที่ 9 ไปเลือกที่แถบเครื่องมือ Horizontal Type Tool แล้วพิมพ์ตัวเลขใส่ได้เลยเป็นอันเสร็จ
8. การทำตาให้โตและใส่ขนตา
ขั้นตอนที่ 1 ไปที่File--openเลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 ไปที่แถบเครื่องมือ Brush-Load Brush ไปโหลดเอา Brush ขนตามา
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเมนู Filter-Liquify
ขั้นตอนที่ 4 ไปที่แถบเครื่องมือด้านขวา คลิกเครื่องมือที่ชื่อว่า Bloat Tool แล้วไปวางที่ลูกตาจะทำให้ตาโตขึ้น แล้ว กด OK
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่แถบเครื่องมือ Brush เลือกขนตาที่ต้องการใช้ ก่อนจะใส่ขนตาต้องเพิ่ม Layer ก่อนทุกครั้ง ถ้าจะทำอีกข้างอีก ก็เพิ่ม Layer ขึ้นมาอีก แล้วจึงใส่ขนตา
ขั้นตอนที่ 6 การทำตาให้ดำ ไปที่แถบเครื่องมือ Brush Tool เลือกแบบวงกลมสีดำแล้วไปวางที่ลูกตา ลูกตาจะเป็นสีดำโต เป็นอันเสร็จ
PAS
วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2553
การตกแต่งรูปร่างให้ดูดี
การตกแต่งให้มีรูปร่างดูดีทุกสัดส่วน
1.ไปที่ File--open เพื่อเราจะได้เลือกรูปภาพ
2.หลังจากนั้นไปที่ Filter-- Liguify
3.ไปเลือก show mesh ทำเป็นเครื่องหมายถูกแล้วจะมีตรางขึ้นมา แล้วคลิกที่เครื่องมือForward Warp Tool คลิก
4.หลังจากนั้นก็ปรับแต่งตามจุดที่เป็นส่วนเกินออกแค่ คลิกเมาส์แช่ไว้ที่จุดแล้วก็เลื่อนปรับให้ภาพดูดี
5.การเปรียบเทียบภาพก่อนทำและหลังทำ
1.ไปที่ File--open เพื่อเราจะได้เลือกรูปภาพ
2.หลังจากนั้นไปที่ Filter-- Liguify
3.ไปเลือก show mesh ทำเป็นเครื่องหมายถูกแล้วจะมีตรางขึ้นมา แล้วคลิกที่เครื่องมือForward Warp Tool คลิก
4.หลังจากนั้นก็ปรับแต่งตามจุดที่เป็นส่วนเกินออกแค่ คลิกเมาส์แช่ไว้ที่จุดแล้วก็เลื่อนปรับให้ภาพดูดี
5.การเปรียบเทียบภาพก่อนทำและหลังทำ
วันพุธที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
คำศัพท์ชนิดการเก็บงาน
VARCHAR (ย่อมาจาก Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์) หมายถึงกลุ่มข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล
TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น
TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ
DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD
SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ
TINYINTBIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)
FLOAT[(M,D)] : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต
DOUBLE[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
DECIMAL[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง
DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS
TIMESTAMP[(M)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8
TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS
YEAR[(2/4)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069
CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ
TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์
TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร
BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64KBM
EDIUMBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB
MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร
LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB
LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า
ENUM(Enumeration) >> หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่
BINARYระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)
VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์
VARCHAR (ย่อมาจาก Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์) หมายถึงกลุ่มข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล
TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น
TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ
DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD
SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ
TINYINTBIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)
FLOAT[(M,D)] : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต
DOUBLE[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
DECIMAL[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง
DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS
TIMESTAMP[(M)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8
TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS
YEAR[(2/4)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069
CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ
TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์
TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร
BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64KBM
EDIUMBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB
MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร
LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB
LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า
ENUM(Enumeration) >> หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่
BINARYระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)
VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์
วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552
ขั้นตอนการติดตั้ง AppServ-win 32-2.5.9บน localhost
การติดตั้ง AppServ-Win 32-2.5.9
ดาวน์โหลดโปรแกรม appserv-win 32-2.5.9 มาแล้ว ให้ดับเบิลคลิก
แล้วจะขึ้นเป็นหน้าต่าง welcome ยินดีตอนรับเข้าสู้การติดตั้งแล้ว คลิก next
แล้วก็เป็นหน้าต่างแสดงถึงเงื่อนไขการใช้ Software ลิขสิทธิ์เกี่ยวกับ Software ให้คลิ๊ก I Agree
แล้วจะมีตัวเลือกในการติดตั้ง (Packet Component) เอาตามที่โปรแกรมเลือกให้แล้ว
เพียงแต่เราคลิ๊ก Next แล้วเป็นการกำหนดค่า Server หน้าต่างนี้ให้พิมพ์คำว่าlocalhost และตามด้วยเมล์ คลิก nextกำหนดรหัสผ่านตามที่เราต้องการจากนั้น คลิ๊กที่ Next
แล้วโปรแกรมก็เริ่มดำเนินการ Install ไฟล์ต่างๆ ลงไปใน HardDisk
เป็นการเสร็จสิ้นการติดตั้ง Appserver แล้ว ให้กด Finish รอสักพัก
แล้วทำการ Restart เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราใหม่ก่อนจึงใช้ได้อย่างสมบูรณ์
วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552
Vocaburaly
1.Database ชุดของข้อมูลที่รวมเอาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นเรื่องราวเดียวกันรวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นชุดข้อมูล
2.DBMS (data base management system) ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ช่วยในการสร้างข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบข้อมูล เรียกใช้ข้อมูล 3.Database Administrators : DBAs บุคลากรที่ทำหน้าที่บริการและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทั้งหมดเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใช้ข้อมูล
4.Database Developmentโปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access หรือ Lotus Approach อนุญาตให้ผู้ใช้พัฒนาฐานข้อมูลตามที่ต้องการได้โดยง่าย อย่างไรก็ตามระบบผู้รับบริการและผู้ให้บริการ
5.Data Definition Language : DDL เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา (Schema)
6.Data Interrogationความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม
7.Graphical and Natural Queriesผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์
8.Application Developmentโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูลมีบทบาทหลักในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สามารถใช้ภาษาโปรแกรมยุคที่สี่ (4GL Programming Language) และสร้างเครื่องมือพัฒนาซอฟต์แวร์จากโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูล
9.Data Manipulation Language : DML เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา
10.Subject Area Database : SADB ฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง
11.Analytical Databaseเก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
12.Multidimensional Database ให้การสนับสนุนสำหรับฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาก
13.Data Warehouses เก็บข้อมูลปัจจุบันและปีก่อนๆ โดยดึงจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร เป็นแหล่งข้อมูลส่วนกลางที่ได้ถูกคัดเลือก แก้ไข จัดมาตรฐาน และรวบรวมเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ธุรกิจ การวิจัยตลาด และสนับสนุนการตัดสินใจ คลังข้อมูลอาจแบ่งออกเป็นตลาดข้อมูล
14.Distributed Databasesการกระจายสำเนา (Copies) หรือบางส่วนของฐานข้อมูลไปยังแม่ข่ายเครือข่ายหลายๆ สถานที่ ฐานข้อมูลแบบกระจายนี้สามารถติดตั้งอยู่บนเครื่องแม่ข่ายเครือข่าย World Wide Web บนอินทราเน็ตขององค์กร หรือเอ็กซ์ทราเน็ต ฐานข้อมูลแบบกระจายอาจจะสำเนาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการหรือฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์
15.End User Databasesประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ หรือรับจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
16.Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว เป็นต้น
17.Record) จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
18.Table) จะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19.Entity) เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า เอนทิตี้ของระบบ นี้จะประกอบด้วย เอนทิตี้ลูกค้า ใบสั่งซื้อสินค้า และสินค้า
20.InfraStucture Management คือการจัดทำระบบการบริหารงานคุณภาพ โครงสร้างพื้นฐาน การควบคุมคุณภาพ
1.Database ชุดของข้อมูลที่รวมเอาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นเรื่องราวเดียวกันรวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นชุดข้อมูล
2.DBMS (data base management system) ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ช่วยในการสร้างข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบข้อมูล เรียกใช้ข้อมูล 3.Database Administrators : DBAs บุคลากรที่ทำหน้าที่บริการและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทั้งหมดเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใช้ข้อมูล
4.Database Developmentโปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access หรือ Lotus Approach อนุญาตให้ผู้ใช้พัฒนาฐานข้อมูลตามที่ต้องการได้โดยง่าย อย่างไรก็ตามระบบผู้รับบริการและผู้ให้บริการ
5.Data Definition Language : DDL เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา (Schema)
6.Data Interrogationความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม
7.Graphical and Natural Queriesผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์
8.Application Developmentโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูลมีบทบาทหลักในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สามารถใช้ภาษาโปรแกรมยุคที่สี่ (4GL Programming Language) และสร้างเครื่องมือพัฒนาซอฟต์แวร์จากโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูล
9.Data Manipulation Language : DML เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา
10.Subject Area Database : SADB ฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง
11.Analytical Databaseเก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
12.Multidimensional Database ให้การสนับสนุนสำหรับฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาก
13.Data Warehouses เก็บข้อมูลปัจจุบันและปีก่อนๆ โดยดึงจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร เป็นแหล่งข้อมูลส่วนกลางที่ได้ถูกคัดเลือก แก้ไข จัดมาตรฐาน และรวบรวมเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ธุรกิจ การวิจัยตลาด และสนับสนุนการตัดสินใจ คลังข้อมูลอาจแบ่งออกเป็นตลาดข้อมูล
14.Distributed Databasesการกระจายสำเนา (Copies) หรือบางส่วนของฐานข้อมูลไปยังแม่ข่ายเครือข่ายหลายๆ สถานที่ ฐานข้อมูลแบบกระจายนี้สามารถติดตั้งอยู่บนเครื่องแม่ข่ายเครือข่าย World Wide Web บนอินทราเน็ตขององค์กร หรือเอ็กซ์ทราเน็ต ฐานข้อมูลแบบกระจายอาจจะสำเนาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการหรือฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์
15.End User Databasesประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ หรือรับจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
16.Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว เป็นต้น
17.Record) จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
18.Table) จะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19.Entity) เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า เอนทิตี้ของระบบ นี้จะประกอบด้วย เอนทิตี้ลูกค้า ใบสั่งซื้อสินค้า และสินค้า
20.InfraStucture Management คือการจัดทำระบบการบริหารงานคุณภาพ โครงสร้างพื้นฐาน การควบคุมคุณภาพ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)